ค่ายชีววิทยา
ลำดับ | หัวข้อ |
---|---|
1 | เซลล์โครงสร้างและหน้าที่ |
2 | การหายใจระดับเซลล์ |
3 | การแบ่งเซลล์ |
4 | สารชีวโมเลกุล |
5 | การลำเลียงสารผ่านเข้า-ออกเซลล์ |
6 | การถ่ายทอดทางพันธุกรรม เฉพาะเรื่อง Polygene, Linkage gene, Sex-linkage gene, Sex-Influenced Traits และ Sex-Limited Traits |
7 | ระบบย่อยอาหาร |
8 | ระบบหายใจ |
9 | ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน |
10 | การสืบพันธุ์ของพืช |
11 | การสืบพันธุ์และการเจริญของพืชดอก |
12 | ระบบประสาท |
13 | อวัยวะรับความรู้สึก |
14 | ไวรัสและยีนจากสิ่งมีชีวิต |
15 | อาณาจักรโพรทิสตา |
16 | อาณาจักรฟังไจ |
17 | อาณาจักรพืช |
18 | อาณาจักรสัตว์ |
19 | ระบบย่อยสลายและการรักษาสมดุลของสัตว์ |
20 | DNA และ DNA เทคโนโลยี |
21 | โครงสร้างของพืชดอก |
22 | การสังเคราะห์ด้วยแสง |
23 | การลำเลียงในพืช |
24 | การสืบพันธุ์ของสัตว์ |
25 | การเจริญของสัตว์ |
26 | นิเวศวิทยา |
27 | พฤติกรรม |
28 | พันธุศาสตร์ เฉพาะเรื่อง Mendelian Genetics, Incomplete Dominance และ Multiple Alleles |
29 | วิวัฒนาการ |
30 | ระบบต่อไร้ท่อ |
31 | การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต |
ค่ายเคมี
-
ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี
- ความปลอดภัยในการทำงานกับสารเคมี (ประเภทของสารเคมี ข้อควรปฏิบัติในการทำปฏิบัติการเคมี การกำจัดสารเคมี)
- อุปกรณ์ทางการเคมี
- การวัดปริมาณสาร (อุปกรณ์ปริมาตร อุปกรณ์วัดมวล เลขนัยสำคัญ)
- หน่วยวัด (หน่วยในระบบเอสไอ แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย)
- สารเคมีทางการเกษตร
-
อะตอมและสมบัติของธาตุ
- แบบจำลองอะตอม (แบบจำลองอะตอมของดอลตัน ทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ด โบร์ แบบกลุ่มหมอก)
- อนุภาคมูลและเลขอะตอม เลขมวล (อนุภาคมูลไอโซโทปและไอโซโทปมวลเฉลี่ย)
- ระดับพลังงานของอิเล็กตรอนและการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม (ระดับพลังงานหลักและระดับพลังงานย่อย ออร์บิทัลและดีแบบฟ์ตามหลักของพาวลี)
- ตารางธาตุและสมบัติของธาตุหมู่หลัก (พัฒนาการของการสร้างตารางธาตุ กลุ่มของธาตุในตารางธาตุ ขนาดของอะตอม ขนาดไอออน พลังงานไอออไนเซชัน สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน อิเล็กโทรเนกาติวิตี)
- ธาตุกัมมันตรังสี (สมบัติของธาตุกัมมันตรังสี)
- ธาตุและสารประกอบ (ธาตุกัมมันตรังสี การสลายตัวของไอโซโทปกัมมันตรังสี อันตรายจากไอโซโทปกัมมันตรังสี กรีฑาซูดยของไอโซโทปกัมมันตรังสี ปฏิกิริยานิวเคลียร์ เทคโนโลยีนิวเคลียร์กับการใช้ในชีวิตประจำวัน)
- การนำธาตุไปใช้ประโยชน์และผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต (ประโยชน์ของธาตุ ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม)
-
พันธะเคมี
- สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสและคู่อิเล็กตรอน
- พันธะไอออนิก (การเกิดพันธะไอออนิก สูตรเคมีของสารประกอบไอออนิก พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก สมบัติของสารประกอบไอออนิก สมบัติของสารประกอบไอออนิก สมบัติของสารประกอบไอออนิก)
- พันธะโคเวเลนต์ (การเกิดพันธะโคเวเลนต์ สมบัติของสารประกอบโคเวเลนต์ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล ขั้วและความมีขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์)
- พันธะโลหะ (การเกิดพันธะโลหะ สมบัติของโลหะ)
- การนำไปใช้ประโยชน์สารประกอบไอออนิก สารประกอบโคเวเลนต์ และโลหะ
-
โมเลกุลของสารและปริมาณสารสัมพันธ์
- มวลอะตอม
- โมล (มวลต่อโมล กฏของมวลสัมพันธ์ต่างๆ ปริมาณสารสัมพันธ์)
- สูตรเคมี (สูตรอย่างง่าย สูตรโมเลกุล การหาสูตรโมเลกุลจากปริมาณธาตุ)
-
สารละลาย
- ความเข้มข้นของสารละลาย
- สมบัติของสารละลาย
- การเตรียมสารละลาย
-
ปริมาณสัมพันธ์
- ปฏิกิริยาเคมี
- สมการเคมี
- การคำนวณปริมาณสารในปฏิกิริยาเคมี (การคำนวณปริมาณสารที่เกี่ยวข้องกับมวล การคำนวณปริมาณสารที่เกี่ยวข้องกับความเข้มข้น การคำนวณปริมาณสารที่เกี่ยวข้องกับปริมาตรของแก๊ส การคำนวณปริมาณสารในปฏิกิริยาหลายขั้นตอน)
- สารกำหนดปริมาณ
- ผลได้ร้อยละ
-
แก๊สและสมบัติของแก๊ส
- สมบัติของแก๊สระหว่างปริมาตร ความดัน อุณหภูมิ และจำนวนโมลของแก๊ส (ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรและความดัน ปริมาตรและอุณหภูมิ ปริมาตร ความดัน และอุณหภูมิ ปริมาตรและจำนวนโมลของแก๊ส)
- กฏของแก๊สและความดันย่อย (กฏแก๊สต่างๆ ความดันย่อยของแก๊ส)
- ทฤษฎีจลน์ของแก๊สและการแพร่ของแก๊ส (ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส การแพร่ของแก๊ส)
- การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
ค่ายคอมพิวเตอร์
คุณสมบัติของนักเรียนก่อนเข้าค่าย 1
นักเรียนที่มาเข้าค่าย 1 ต้องมีความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ในเนื้อหาที่จำเป็น และมีความรู้ในการเขียนโปรแกรม เพื่อให้พร้อมในการเรียนในค่าย 1
เนื้อหาและประเภทข้อสอบ
เนื้อหาตามกรอกบในธรรมนูญการแข่งขันฯ ปรับปรุงเมื่อปี พ.ศ. 2566 และ ตามกรอบ ในคราวประชุม เมื่อวันที่ 27 - 28 มกราคม 2567
ข้อสอบมีทั้งปรนัย และ เติมคำตอบเป็นตัวเลข รวมจำนวน 80 ข้อ ประกอบด้วย
- คณิตศาสตร์ จำนวน 40 ข้อ (แบบปรนัย)
- กลุ่มที่ 1: จำนวนจริง ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน สมการและอสมการ
- กลุ่มที่ 2: เซต ตรรกศาสตร์ การวัดและเรขาคณิต การนับ การเรียงสับเปลี่ยน การจัดหมู่ ลำดับ
- วิทยาการคำนวณ จำนวน 40 ข้อ (มีทั้งแบบปรนัย และเติมคำตอบเป็นตัวเลข)
- ส่วนที่ 1: การโปรแกรมพื้นฐาน เทียบเคียงภาษาไพธอน จำนวน 20 ข้อ
- ส่วนที่ 2: การคิดเชิงวิเคราะห์และการแก้ปัญหาตามขั้นตอนวิธีที่ให้ จำนวน 20 ข้อ
เนื้อหา คณิตศาสตร์
เนื้อหา คณิตศาสตร์ กลุ่มที่ 1
(เนื้อหาในกลุ่มนี้เป็นหลัก และเชื่อมโยงข้ามกลุ่มได้)
ด้าน จำนวนและพีชคณิต
-
1) จำนวนจริง
- จำนวนจริงและสมบัติของจำนวนจริง
- ค่าลัพธิ์ของจำนวนจริงและสมบัติของค่าลัพธิ์ของจำนวนจริง
- จำนวนจริงในรูปกรณฑ์ และจำนวนจริงในรูปเลขยกกำลัง
- จำนวนตรรกยะ และจำนวนอตรรกยะ รากที่สองและรากที่สามของจำนวนตรรกยะ
- เศษส่วน และ สัดส่วน (Fractions, percentages)
-
2) ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
- การหารจำนวนเต็ม (ขั้นตอนวิธีการหาร) การหารลงตัว และเศษเหลือการหาร
- จำนวนเฉพาะ จำนวนประกอบ คุณสมบัติของจำนวนเฉพาะ
- เลขคณิตมอดุลาร์ (Modular Arithmetic): การบวก การลบ การคูณ
-
3) ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน
- พหุนาม: การบวก การลบ การคูณ และการหารพหุนาม
- ฟังก์ชัน: ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน และการประกอบของฟังก์ชัน
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฟังก์ชัน: การหาและวาดกราฟฟังก์ชัน
- สมบัติของฟังก์ชัน: สะท้อน สมมาตร ย้ายขนาด เทียบเท่าทราฟหรือสมบัติประจำตัวฟังก์ชัน
- ประเภทของฟังก์ชัน (การบวก การลบ การคูณ การหารฟังก์ชัน ฟังก์ชันประกอบ ฟังก์ชันผกผัน)
- ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล และฟังก์ชันลอการิทึม และการแปลงฟังก์ชัน
-
4) สมการ
- สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
- สมการหลายตัวแปร การแก้สมการหลายตัวแปร
- ระบบสมการเชิงเส้นตัวแปร: การแก้ระบบสมการเชิงเส้นตัวแปร
- สมการควอดราติก (พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว)
เนื้อหา คณิตศาสตร์ กลุ่มที่ 2
เซต ตรรกศาสตร์ การวัดและเรขาคณิต การนับ การเรียงสับเปลี่ยน การจัดหมู่ ลำดับ
(เนื้อหาในกลุ่มนี้เป็นหลัก และเชื่อมโยงข้ามกลุ่มได้)
ด้าน จำนวนและพีชคณิต
- 1) เซต
- ยูนีเวิร์ส อินเตอร์เซกชัน และคอมพลีเมนต์ของเซต
- เซตย่อยและเพาเวอร์เซต ผลคูณคาร์ทีเซียน (Cartesian products)
- หลักการเพิ่มจำนวนและคีดคอม
- 2) ตรรกศาสตร์
- ประพจน์และตัวเชื่อม (นิเสธ และ หรือ ถ้า...แล้ว...ก็ต่อเมื่อ)
- ประโยคที่มีตัวนับปริมาณ
- การอ้างเหตุผล (Modus ponens and modus tollens) ในลักษณะประยุกต์ เช่น ปัญหาการจับโกหก
ด้าน การวัดและเรขาคณิต
- 1) เรขาคณิตวิเคราะห์ (จุดและเส้นตรง มุม รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยมพื้นผ้า สีเหลี่ยมจตุรัส) ความเท่ากันกับประการของรูปร่างสามเหลี่ยม ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและขากลับ ทฤษฎีบทเกี่ยวกับสี่เหลี่ยม
- 2) มุม และเส้นสัมผัส ทฤษฎีบทเกี่ยวกับวงกลม
- 3) ระยะทาง และพิกัดบนระนาบ ระยะทางแบบยูคลิด
- 4) รูปหลายเหลี่ยม (Polygon) จุดยอด เส้นขอบหรือด้าน รูปอย่างง่าย รูปปูน รูปเว้า พื้นที่
ด้าน การนับ และ ลำดับ
- หลักการนับเบื้องต้น หลักการบวกและการคูณ
- การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่สิ่งของแตกต่างกัน การจัดหมู่กรณีที่สิ่งของแตกต่างกัน
- หลักการของรังนกพิราบ
- ลำดับเลขคณิต ลำดับเรขาคณิต จำนวนฟีโบนักชี
เนื้อหา วิทยาการคำนวณ
ส่วนที่ 1: การโปรแกรมพื้นฐาน เทียบเคียงภาษาไพธอน
- เน้นพื้นฐานการเขียนโปรแกรม (ลำดับขั้นตอน) ตรรกการคิดและแก้ปัญหา ในรูปการคำนวณ หรือทดสอบคำตอบ เพื่อให้ได้จุดคำตอบ ไม่เน้นไวยกรณ์เฉพาะภาษาไพธอน ซึ่งครอบคลุม
- การกำหนดค่าให้ตัวแปร (=)
- การเขียนนิพจน์เพื่อคำนวณทางคณิตศาสตร์ (บวก ลบ คูณ หาร ยกกำลัง)
- การเขียนนิพจน์เพื่อการเปรียบเทียบ (เท่ากัน, ไม่เท่ากัน, <, <=, >, >=)
- ลำดับการทำงานเลือกทำ (if-then-else) ทั้ง if เดี่ยว และ if ซ้อน if
- การเปรียบเทียบด้วยเงื่อนไขเดี่ยว และเงื่อนไขประกอบ (มีตัวเชื่อม not, and, or)
- ลำดับการทำงานวนซ้ำด้วยลูป while
- การผสมผสาน ทั้งการเลือกทำ (if) และการวนทำซ้ำ (while)
- การทำงานกับข้อมูลและการคำนวณทางศรษฐกิจที่กำหนดฟังก์ชั่นด้วย DEF (ไม่เน้นโปรแกรมย่อย ไม่รวมถึงการ ประกาศหรือกำหนดฟังก์ชั่นด้วย DEF)
ส่วนที่ 2: การคิดเชิงวิเคราะห์และการแก้ปัญหาตามขั้นตอนวิธีที่ให้
- (ข้อสอบที่มีแบบปรนัย และเติมคำตอบเป็นตัวเลข)
- การกำหนดการคำนวณ
- การคำนวณหรือการคิด การวิเคราะห์ที่มีการทำซ้ำๆ และเมื่อเงื่อนไขให้เลือกตัดสินใจที่ จะคำนวณ หรือเลือกทำ โดย
- 1) เมื่ออ่านคำอธิบาย ทิ้งคำเหลือที่ที่ทำตามวิธีการที่กำหนด
- 2) ให้คิดหาวิธีการทำได้หรือคำถามการคิดคำตอบในกระบวนการทำงาน
- 3) ให้คิดวิเคราะห์ถ้าเกิดจะเลือกคิด ในบางจุด จะให้ผลลัพธ์อย่างไร
ค่ายคณิตศาสตร์
กลุ่ม | สาระการเรียนรู้ |
---|---|
จำนวนและพีชคณิต |
|
การวัดและเรขาคณิต |
|
สถิติและความน่าจะเป็น |
|
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ |
|
ค่ายฟิสิกส์
- การแปลงหน่วย เช่น 30 ms-1 = 108 km / hour.
-
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
- กฎข้อที่ 1 เป็นนิยามว่าด้วยกฎความเฉื่อยของระบบอ้างอิงเฉื่อย
- กฎข้อที่ 2 ในระบบอ้างอิงเฉื่อย มีรูปสมการเป็น \( ma = f \)
- กฎข้อที่ 3 แรงปฏิกิริยามีขนาดเท่ากับแรงกิริยา มีทิศทางตรงข้าม
- ผลจากกฎการเคลื่อนที่: ได้กฎการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงเส้น เช่น \[ m_1 v_1 + m_2 v_2 = m_1 u_1 + m_2 u_2 \]
-
กฎการอนุรักษ์พลังงาน: ได้กฎการอนุรักษ์พลังงานกลของระบบ
พลังงานจลน์ + พลังงานศักย์ = คงที่, ไม่มีการสูญเสียพลังงานเนื่องจากแรงเสียดทาน - แรงเสียดทาน สัมประสิทธิ์ของความเสียดทานสถิตและสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานจลน์ \[ f = \mu N \]
-
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (ใกล้ผิวโลกแบบราบ)
\[ y = -\frac{1}{2}gt^2 + C_1 t + C_2, x = D_1 t + D_2 \] -
การเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่ตามแนววงกลมรัศมี
\( r \) \( mv^2 = \frac{m}{r} \) แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง
\( ma^2 = \frac{m}{r} \) แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง - การเคลื่อนที่ของรูปแบบอัตราเร็วคงที่ตามแนววงกลมศูนย์กลางมวล ด้วยอัตราเร็วเชิงมุม \( \Omega \) \( m\Omega r = \text{คงที่} \)
- สมดุลกล: อัตราเร็วเชิงมุม \( \Omega = 0 \) เนื่องจากอัตราเร็วที่เป็นศูนย์, อัตราเร็วเชิงมุม \( \Omega = 0 \) ด้วย
- ของไหล (หมายถึงสถานะของไหล, แก๊ส): ความดันที่ระดับลึก \( h \) จากความสูงเหนือระดับน้ำอ้างอิง \( g \) \( P = P_0 + \rho gh \)
- สมการของ Bernoulli \( \frac{1}{2}\rho v^2 + \rho gh + P = \) คงที่
- การไหลของความร้อน ฟลักซ์ของการไหล \( J = -K \frac{\Delta T}{\Delta x} \)
- การขยายตัวเชิงความร้อน \( L = L_0 \left\{1 + \alpha (T - T_0)\right\} \)
- กฎของแก๊สอุดมคติ \( PV = nRT \)
- หลักการ Equpartition of Energy \( \frac{1}{2} kT \) ต่อหนึ่ง degree of freedom
- ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
-
กฎข้อที่ศูนย์ และกฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์
- กฎข้อที่ศูนย์ หลักของสมดุลเชิงความร้อน
- กฎข้อที่หนึ่ง หลักอนุรักษ์พลังงาน (ทุกรูปแบบ) รวมทั้งพลังงานความร้อน \( \Delta U = \Delta Q - \Delta W \)
- ไฟฟ้าสถิต แรงระหว่างประจุไฟฟ้า กฎของคูลอมบ์ งานที่เกิดโดยแรงไฟฟ้า แนวคิดเรื่องศักย์ไฟฟ้า แนวคิดเรื่องสนามไฟฟ้า และพลังงานในสนามไฟฟ้า \( \left( \frac{1}{2} \epsilon_0 E_0^2 \right) \) แนวคิดเรื่องตัวเก็บประจุ (C)
- ไฟฟ้ากระแสตรง
- การไหลของกระแสไฟฟ้าในเส้นลวดโลหะ กฎของโอห์ม แนวคิดเรื่องความต้านทาน (R) และตัวต้านทาน
- การสูญเสียพลังงานไฟฟ้าไปเป็นพลังงานความร้อนในตัวต้านทาน ด้วยอัตรา \( i^2 R \) (เรียกว่า "Joule heating")
-
การรวมค่า \( R \), การรวมค่า \( C \) และบทบาทของ \( R \) กับ \( C \) ในวงจรกระแสตรง
-
สนามแม่เหล็กเนื่องจากกระแสไฟฟ้า ที่จุดศูนย์กลางของวงกลวดรัศมี \( r \) ที่มีการไหลของกระแสไฟฟ้า \( i \) ไหลวน
สนามแม่เหล็ก \( B = \frac{\mu_0 i}{2\pi r} = \frac{\mu_0 i}{2r} \) หน่วย tesla
\( \mu_0 \) เป็นค่าคงที่ และมีค่า \( = 4\pi \times 10^{-7} \) henry/metre
แนวคิดเรื่องสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกฎของ Biot-Savart และกฎของ Ampere - กฎการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าของ Faraday & Lenz
แนวคิดเรื่องพลังงานต่อหน่วยปริมาตรในสนามแม่เหล็ก \( \left( \frac{1}{2} \frac{B^2}{\mu_0} \right) \) ตัวเหนี่ยวนำ (L) และบทบาทของมันในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง -
กระแส "Displacement current" ของ Maxwell ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า พลังงานต่อหน่วยปริมาตรในคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
อัตราเร็วของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสุญญากาศ \( c \equiv 299792458 \, \text{m/s} \) -
กฎของการสะท้อน กระจกนูน กระจกเว้า การเกิดภาพโดยกระจกเหล่านี้ โดยการเขียนทางเดินของแสงและโดยการคำนวณด้วยสมการ
\(\frac{1}{v} + \frac{1}{u} = \frac{1}{f}\) -
กฎของการหักเห กฎของสเนลล์ กฎของวิสดตอร์ เลนส์นูน และเลนส์เว้า การเกิดภาพโดยเลนส์เหล่านี้ โดยการเขียนทางเดินของแสง และโดยการคำนวณด้วยสมการ
\(\frac{1}{v} + \frac{1}{u} = \frac{1}{f}\) - การเกิดภาพในระบบประกบกันเลนส์